วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
วันอังคาร บ่าย พ.ศ.2558
103 ห้องเรียน 443
เวลาเรียน 14.10-16.40 น.
-จำนวนและความถี่ของแรงเสริมที่ให้กับพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กต้องมีความเหมาะสม
ความต่อเนื่อง
-พฤติกรรมทุกๆอย่างในชีวิตประจำวันต่อเนื่องกันระหว่างพฤติกรรมย่อยๆ หลายๆอย่างรวมกัน เช่น การเข้าห้องน้ำ
-สอนแบบก้าวไปข้างหน้าหรือย้อนมาจากข้างหลัง
เด็กตักซุป
-การจับช้อน
-การตัก
-การระวังไม่ให้น้ำหกก่อนจะเข้าปาก
-การเอาช้อนและซุปเข้าปากแทนที่จะทำให้หกรดคาง
-การเอาซุปออกจากช้อนเข้าสู่ปาก
การลดและหยุดแรงเสริม
วันนี้อาจารย์สอนเรื่อง การสอนเด็กพิเศษและเด็กปกติ
การฝึกเพิ่มเติม
-อบรมระยะสั้น , สัมนา
-สื่อต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์
การเข้าใจภาวะปกติ
-เด็กจะคล้ายคลึงกันมากกว่าแตกต่าง
-ครูต้องเรียนรู้,มีปฏิสัมพันธ์กับเด้กปกติแและเด็กพิเศษ
-รู้จักเด็กแต่ละคน
-มองเด็กให้เป็น "เด็ก"
การแยกเด็กที่มีพัฒนาการช้า
-การเข้าใจพัฒนาการเด็ก จะช่วยให้ครูสามารถมองเห็นความแตก
ต่างของเด็กแต่ละคนได้ง่าย
ความพร้อมของเด็ก
-วุฒิภาวะ
-แรงจูงใจของเด็ก
-โอกาส
การสอนโดยบังเอิญ
-ให้เด็กเป็นฝ่ายเริ่ม
-เด็กเข้าหาครูมากเท่าไหร่ยิ่งมีโอกาสในการสอนมากขึ้นเท่านั้น
-ครูต้องพร้อมที่จะพบเด็ก
-ครูต้องมีความสนใจเด็ก
-ครูต้องมีความรู้สึกที่ดีต่อเด็ก
อุปกรณ์
-มีลักษณะง่ายๆ
-ใช้ประโยชน์ได้หลายทาง
-เด็กพิเศษได้เรียนรู้จากการสังเกตและเลียนแบบเด็กปกติ
ตารางประจำวัน
-เด็กพิเศษไม่สามารถยอมรับการเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ทำอยู่เป็นประจำ
-กิจกรรมต้องเรียงลำดับเป็นขั้นตอนและทำนายได้
-เด็กจะรู้สึกปลอดภัยและมั่นใจ
-การสลับกิจกรรมที่อยู่เงียบๆกับกิจกรรมที่เคลื่อนไหวมากๆ
-คำนึงถึงความพอเหมาะของเวลา
ทัศนคติของครู
-การแก้แผนการสอนให้เหมาะสมกับสถานการณ์
-ยอมรับขอบเขตความสามารถของเด็ก
-ครูต้องตอบสนองต่อเป้าหมายที่สำคัญที่สุดสำหรับเด้กแต่ละคน
การใช้สหวิทยาการ
-ใจกว้างต่อคำแนะนำของบุคคลในอาชีพอื่นๆ
-สร้างความสัมพันธ์ระหว่างการบำบัดกับกิจกรรมในห้องเรียน
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการเรียนรู้
เด็กทุกคนสอนได้
-เด็กเรียนไม่ได้เพราะไร้ความสามารถ
-เด็กเรียนไม่ได้เพราะขาดโอกาส
เทคนิคการให้แรงเสริม
- แรงเสริมทางสังคมจากผู้ใหญ่
-ความสนใจของผู้ใหญ่ที่มีต่อเด็ก
-มีแนวโน้มจะเพิ่มพฤติกรรมที่ดีของเด็ก
-หากผู้ใหญ่ไม่สนใจพฤติกรรมที่ดีนั้นๆ ก็จะลดลงและหายไป
วิธีการแสดงออกถึงแรงจากผู้ใหญ่
-การตอบสนองด้วยวาจา
-การยืนหรือนั่งใกล้เด็ก
-พยักหน้ารับ ยิ้ม ฟัง
-สัมผัสทางกาย
-ให้ความช่วยเหลือ, ร่วมกิจกรรมกับเด็ก
หลักการใช้แรงเสริมในเด็กปฐมวัย
-ครูต้องให้แรงเสริมทันทีที่เด้กมีพฤติกรรมอันพึงประสงค์
-ครูต้องละเว้นความสนใจทันทีและทุกครั้งที่เด็กแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
-ครูควรให้ความสนใจเด็กนานเท่าที่เด็กมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์
การแนะนำหรือบอกบท(Prompting)
-การย่อยงาน
-ลำดับความยากง่ายของงาน
-ลำดับงานเป็นการเสริมแรงเพื่อให้เด็กค่อยๆก้าวไปสู่ความสำเร็จ
-การบอกบทจะค่อยๆน้อยลงตามลำดับ
ขั้นตอนการให้แรงเสริม
-สังเกตและกำหนดจุดมุ่งหมาย
-วิเคราะห์งาน กำหนดจุดมุ่งหมายย่อยๆในงานแต่ละชิ้น
-สอนจากง่ายไปยาก
-ให้แรงเสริมทันทีเมื่อเด็กทำได้หรือเมื่อเด็กพยายามทำอย่างเหมาะสม
-ลดการบอกบท เมื่อเด็กเรียนรู้ที่จะก้าวไปในขั้นต่อไป
-ให้แรงเสริมเฉพาะพฤติกรรมที่ใกล้เคียงกับเป้าหมายมากที่สุด
-ทีละขั้น ไม่เร่งรัด ''ยิ่งขั้นเล็กเท่าไหรื ยิ่งดีเท่านั้น''
-ไม่ดุหรือตี
การกำหนดเวลา
-ให้แรงเสริมเฉพาะพฤติกรรมที่ใกล้เคียงกับเป้าหมายมากที่สุด
-ทีละขั้น ไม่เร่งรัด ''ยิ่งขั้นเล็กเท่าไหรื ยิ่งดีเท่านั้น''
-ไม่ดุหรือตี
การกำหนดเวลา
-จำนวนและความถี่ของแรงเสริมที่ให้กับพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กต้องมีความเหมาะสม
ความต่อเนื่อง
-พฤติกรรมทุกๆอย่างในชีวิตประจำวันต่อเนื่องกันระหว่างพฤติกรรมย่อยๆ หลายๆอย่างรวมกัน เช่น การเข้าห้องน้ำ
-สอนแบบก้าวไปข้างหน้าหรือย้อนมาจากข้างหลัง
เด็กตักซุป
-การจับช้อน
-การตัก
-การระวังไม่ให้น้ำหกก่อนจะเข้าปาก
-การเอาช้อนและซุปเข้าปากแทนที่จะทำให้หกรดคาง
-การเอาซุปออกจากช้อนเข้าสู่ปาก
การลดและหยุดแรงเสริม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น